นิทรรศการ

โลกร้าว: เรื่องเล่าขนาดย่อมจากเส้นทางโฮจิมินห์ถึงทุ่งหญ้าสเต็ปป์

นิทรรศการกลุ่ม

วันที่:

03 เมษายน 2568 - 06 กรกฎาคม 2568

นิทรรศการ

โลกร้าว: เรื่องเล่าขนาดย่อมจากเส้นทางโฮจิมินห์ถึงทุ่งหญ้าสเต็ปป์

นิทรรศการกลุ่ม

วันที่:

03 เมษายน 2568 - 06 กรกฎาคม 2568

นิทรรศการ

โลกร้าว: เรื่องเล่าขนาดย่อมจากเส้นทางโฮจิมินห์ถึงทุ่งหญ้าสเต็ปป์

นิทรรศการกลุ่ม

วันที่:

03 เมษายน 2568 - 06 กรกฎาคม 2568

บริหารงานโดย หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร ร่วมกับหอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน
องค์กรผู้สนับสนุนหลัก บริษัท ไทยเบฟเวอเรจ จำกัด (มหาชน)
สื่อผู้สนับสนุน ONCE, Room Books, Ground Control

พื้นที่จัดแสดงงาน ประกอบไปด้วย ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร, หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน ณ ห้องแกลเลอรี่ 1 & 2, ห้องสมุดวิลเลียม วอร์เรน และพิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน

ศิลปินที่จัดแสดงผลงาน ณ ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8 หอศิลปวัฒนธรรมกรุงเทพมหานคร 
อัลมากุล เมนลิบาเยวา
อู ซาว ยี
จุฬญาณนนท์ ศิริผล
ดินห์ คิว เล
จุน ยัง
ราฟาล มิลาซ และสปุตนิก โฟโต้ คอลเล็กทีฟ
ส้ม ศุภปริญญา
ทัศนัย เศรษฐเสรี
วัชรนนท์ สินวราวัฒน์

ศิลปินที่จัดแสดงผลงาน ณ ห้องแกลเลอรี่ 1 & 2 หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน 
ไฮเฟน- โดย เกรซ ซัมโบฮ์ ร่วมด้วย อันดรี เซเตียวาน และ ราเชล เค สุริจาตะ
นาอีม โมเฮมมาน

ศิลปินที่จัดแสดงผลงาน ณ ห้องสมุดวิลเลียม วอร์เรน
คีต์ตา อิสรั่น

ศิลปินที่จัดแสดงผลงาน ณ พิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน
ประทีป สุธาทองไทย

คัดสรร โดย
กฤติยา กาวีวงศ์
ร่วมกับ รินรดา ณ เชียงใหม่ และ ชนพล จันทร์หอม

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร ร่วมกับ หอศิลป์บ้านจิม ทอมป์สัน จัดนิทรรศการนานาชาติ โลกร้าว: เรื่องเล่าขนาดย่อมจากเส้นทางโฮจิมินส์ถึงทุ่งหญ้าสเต็ปป์ เพื่อเฉลิมฉลองวาระครบรอบ 50 ปีของมูลนิธิเจมส์ เอช ดับเบิลยู ทอมป์สัน ซึ่งตั้งชื่อตาม จิม ทอมป์สัน สถาปนิกชาวอเมริกัน ผู้เคยทำงานร่วมกับกองทัพสหรัฐฯ ในประเทศไทยช่วงปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 หลังปลดประจำการ เขาตั้งรกรากในกรุงเทพฯ และอุทิศตนให้กับการฟื้นฟูอุตสาหกรรมผ้าไหมไทย ทิ้งไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรมสำคัญที่ยังคงดำรงอยู่ผ่านพิพิธภัณฑ์บ้านจิม ทอมป์สัน

นิทรรศการนำเสนอผลงานของศิลปินเชิงวิจัย 13 คนจากเอเชียตะวันออกเฉียงใต้และยูเรเชีย โดยมุ่งสำรวจร่องรอยและผลกระทบของสงครามเย็น รวมถึงวิธีที่ศิลปินแต่ละคนตีความและนำเสนอเรื่องเล่าเชิงจุลภาค ซึ่งสะท้อนความซับซ้อนของบริบทท้องถิ่นในความสัมพันธ์กับประวัติศาสตร์ และเผยให้เห็นว่าเรื่องราวเหล่านี้ยังคงส่งอิทธิพลต่อสังคมร่วมสมัยอย่างไร นิทรรศการแบ่งออกเป็น 3 ส่วนหลัก ซึ่งสะท้อนประเด็นสำคัญของสงครามเย็น ได้แก่ สงครามจิตวิทยา การทูตเชิงวัฒนธรรม และการแข่งขันด้านอาวุธนิวเคลียร์และอวกาศ โดยจะจัดแสดงใน 4 สถานที่ ตั้งแต่บริเวณแยกปทุมวันจนถึงซอยเกษมสันต์ 2

เพื่อขยายบริบทให้กับผู้ชมทั้งในประเทศและต่างประเทศในการทำความเข้าใจถึงผลกระทบของสงครามเย็นที่มีต่อสถานการณ์สังคมและการเมืองในปัจจุบัน นิทรรศการนี้ยังมาพร้อมกับกิจกรรมสาธารณะหลากหลายตลอดช่วงการจัดแสดง อาทิ การประชุม เสวนาศิลปินและภัณฑารักษ์ โปรแกรมฉายภาพยนตร์ และการเดินสำรวจพื้นที่ เป็นต้น

information provided by event organizer

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8

939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ10330

โซน

2

อ. - อา. 10:00-20:00 (หยุดวันจันทร์)

BTS: สนามกีฬาแห่งชาติ

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8

939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ10330

โซน

2

อ. - อา. 10:00-20:00 (หยุดวันจันทร์)

BTS: สนามกีฬาแห่งชาติ

หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร

ห้องนิทรรศการหลัก ชั้น 8

939 ถ.พระราม 1 แขวงวังใหม่ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ10330

โซน

2

อ. - อา. 10:00-20:00 (หยุดวันจันทร์)

BTS: สนามกีฬาแห่งชาติ